วันพุธที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

การกำหนดลักษณะและแบบของตัวอักษร

 การกำหนดลักษณะและแบบของตัวอักษร
                            เป็นการกำหนดลักษณะตัวอักษรแบบเจาะจงไม่ว่าจะแสดงบนบราวเซอร์ใด ก็จะแสดงผลเหมือนกัน เช่น การกำหนดให้ตัวอักษรเป็นตัวหนา ตัวเอียง ตัวขีดฆ่า ตัวขีดเส้นใต้ แสดงแบบเลขยกกำลังในสูตรทางคณิตศาสตร์ หรือแสดงแบบตัวห้อยในสูตรทางวิทยาศาสตร์ เป็นต้น

             1. คำสั่งสำหรับกำหนดอักษรตัวหนา (Bold)  :  <B> … </B>
<B>..........</B>
                                   ใช้กำหนดข้อความที่อยู่ภายในคำสั่ง ให้แสดงผลด้วยตัวอักษรแบบตัวหนา (bold) มีจุดประสงค์เพื่อเน้นข้อความในประโยคนั้น
                                    ตัวอย่างการใช้คำสั่ง

<HTML>
<HEAD>
<TITLE>การกำหนดตัวหนา</TITLE>
</HEAD>
<BODY>
การกำหนดตัวหนาให้กัตัวอักษร<BR>
ตัวอักษรปรกติ COMPUTER <BR>
ตัวอักษรหนา <B>COMPUTER</B>
</BODY>
</HTML>
ผลลัพธ์
การกำหนดตัวหนาให้กัตัวอักษร
ตัวอักษรปรกติ COMPUTER
ตัวอักษรหนา COMPUTER
 ---------------------------------------------------------------
            2. คำสั่งสำหรับกำหนดอักษรตัวเอน (Italic)  :  <I> … </I>
<I>..........</I>
                            ใช้กำหนดข้อความที่อยู่ภายในคำสั่งให้แสดงผลด้วยตัวอักษรแบบเอน (Italic) มีจุดประสงค์เพื่อเน้นข้อความในประโยคนั้น
                            ตัวอย่างการใช้คำสั่ง

<HTML>
<HEAD>
<TITLE>กำหนดอักษรตัวเอน </TITLE>
</HEAD>
<BODY>
การกำหนดอักษรตัวเอน <BR>
ตัวอักษรปรกติ COMPUTER <BR>
ตัวอักษรตัวเอน  <I>COMPUTER</I>
</BODY>
</HTML>

ผลลัพธ์
การกำหนดอักษรตัวเอน
ตัวอักษรปรกติ COMPUTER
ตัวอักษรตัวเอน COMPUTER
---------------------------------------------------------------
             3. คำสั่งสำหรับกำหนดอักษรขีดเส้นใต้ (Underline)  :  <U> … </U>
<U>..........</U>
                              
                                           ใช้แสดงข้อความแบบขีดเส้นใต้ 
(underline) ทั้งนี้เพื่อเน้นข้อความในประโยคนั้น

                                ตัวอย่างการใช้คำสั่ง


<HTML>
<HEAD>
<TITLE>การกำหนดการขีดเส้นใต้</TITLE>
</HEAD>
<BODY>
การกำหนดการขีดเส้นใต้ <BR>
ตัวอักษรปกติ COMPUTER<BR>
ตัวอักษรขีดเส้นใต้ <U> COMPUTER </U>
</BODY>
</HTML>

ผลลัพธ์


การกำหนดการขีดเส้นใต้
ตัวอักษรปกติ COMPUTER
ตัวอักษรขีดเส้นใต้ 
COMPUTER

---------------------------------------------------------------
                        
                        4. คำสั่งสำหรับกำหนดตัวอักษรตัวขีดฆ่า
  
<S>..........</S>

<S>..........</S>

                                ใช้แสดงข้อความแบบขีดฆ่าตัวอักษร ทั้งนี้เพื่อเน้นข้อความเปรียบเทียบหรือไม่ต้องการในประโยคนั้น
                               ตัวอย่างการใช้คำสั่ง
<HTML>
<HEAD>
<TITLE> การกำหนดอักษรขีดเส้นใต้ </TITLE>
</HEAD>
<BODY>
กำหนดอักษรขีดเส้นใต้ <BR>
<S>Microsoft Windows 7</S>
</BODY>
</HTML>
ผลลัพธ์
กำหนดอักษรขีดเส้นใต้
Microsoft Windows 7

---------------------------------------------------------------


                         5. คำสั่งสำหรับกำหนดอักษรตัวกระพริบ (Blink)  :  <BLINK> … </BLINK>
<BLINK>..........</BLINK>
                                ใช้กำหนดแสดงข้อความแบบกระพริบ จะมีลักษณะการแสดงผลเป็นแบบติด ดับ สลับกันไป

                                 ตัวอย่างการใช้คำสั่ง


<HTML>
<HEAD>
<TITLE>กำหนดอักษรตัวกระพริบ </TITLE>
</HEAD>
<BODY>
การกำหนดอักษรตัวกระพริบ <BR>
<Blink>COMPUTER</Blink>
</BODY>
</HTML>

---------------------------------------------------------------
                           6. คำสั่งสำหรับกำหนดอักษรให้เคลื่อนที่ (MARQUEE)  

<MARQUEE> .......... </MARQUEE>
                     
                   ใช้สำหรับแสดงข้อความแบบเคลื่อนที่ไปยังทิศทางที่เราต้องการ มีรูปแบบการใช้ดังนี้
                                      <marquee scrolldelay="ความเร็ว" direction="ทิศทางวิ่ง">ข้อความ</marquee>
                                      - scrolldelay ให้แทนค่าด้วยความเร็วเป็น ตัวเลข ส่วน direction ใส่ได้เฉพาะ Up,Down,Left และ Right 

                                  ตัวอย่างการใช้คำสั่ง    

<html>
<head>
<title>marque</title>
</head>
<body>
<center>
<marquee scrolldelay="100" direction="Right">WEBTHAIDD</marquee>
<marquee scrolldelay="100" direction="Left">WEBTHAIDD</marquee>
<marquee scrolldelay="100" direction="Up">WEBTHAIDD</marquee>
<marquee scrolldelay="100" direction="Down">WEBTHAIDD</marquee>
</body>
</html>

---------------------------------------------------------------

                           7. คำสั่งสำหรับกำหนดแบบอักษรตัวห้อยและแบบอักษรตัวยก  :  <SUP> … </SUP>  และ  <SUB> </SUB>
ข้อความแบบฟังก์ชั่นทางคณิตศาสตร์ <SUP>.....</SUP>
ข้อความแบบสูตรทางวิทยาศาสตร์ <SUB>.....</SUB>
                    การกำหนดแบบอักษรตัวห้อยและแบบอักษรตัวยกในเว็บเพจนั้น เราสามารถกำหนดขนาดของตัวอักษรได้ดังนี้ 
                    ตัวอย่างการใช้คำสั่ง    

<HTML>
<HEAD>
<TITLE>แบบอักษรตัวห้อยและแบบอักษรตัวยก </TITLE>
</HEAD>
<BODY >
Computer<SUP>2</SUP> <P>
H<SUB>2</SUB>O<P>
</BODY>
</HTML>
ผลลัพธ์
Computer2
H2O


---------------------------------------------------------------
                              
                                8. คำสั่งสำหรับกำหนดรูปแบบตัวอักษร  :  <FONT  FACE = "......."> … </FONT>


<FONT FACE="รูปแบบตัวอักษรที่ต้องการ" >..........</FONT>
                           การกำหนดรูปแบบของตัวอักษรในเว็บเพจที่เราต้องการให้แสดงออกบนเว็บ                                ตัวอย่างการใช้คำสั่ง   

<html>
<head>
<title>การกำหนดขนาดตัวอักษร</title>
</head>
<body>
<font face="Cordiaupc">HTML</font><br>
<font face="Ms sans serif">HTML</font><br>
<font face="AngsanaUPC">HTML</font><br>
<font face="arial">HTML</font><br>
</body>
</html>
ผลลัพธ์
HTML
HTML
HTML
HTML
---------------------------------------------------------------
        9. คำสั่งสำหรับกำหนดขนาดตัวอักษร  :  <FONT  SIZE = ขนาด> … </FONT>
<FONT SIZE="ค่ากำหนดขนาดของตัวอักษร">..........</FONT>
                    การกำหนดขนาดของตัวอักษรในเว็บเพจนั้น เราสามารถกำหนดขนาดของตัวอักษรได้ดังนี้ คือ
·       กำหนดเป็นตัวเลขซึ่งจะมีค่า 1 - 7 โดยค่ามาตรฐานจะมีค่าจะอยู่ที่ ค่าตัวเลขที่เป็น และ นั้นจะเป็นการย่อขนาดของตัวอักษร และค่าตัวเลข ถึง 7นั้นจะเป็นการขยายขนาดของตัวอักษร
                    ตัวอย่างการใช้คำสั่ง    

<HTML>
<HEAD>
<TITLE>FONT SIZE </TITLE>
</HEAD>
<BODY >
<FONT SIZE="1">Computer</Font>
<FONT SIZE="2">Computer</Font>
<FONT SIZE="3">Computer</Font>
<FONT SIZE="4">Computer</Font>
<FONT SIZE="5">Computer</Font>
<FONT SIZE="6">Computer</Font>
<FONT SIZE="7">Computer</Font>
</BODY>
</HTML>
ผลลัพธ์
Computer Computer Computer Computer Computer ComputerComputer


---------------------------------------------------------------
                10. คำสั่งสำหรับกำหนดสีตัวอักษร  :  <FONT  COLOR = รหัสสี> … </FONT>
<FONT COLOR="#RGB" หรือ กำหนดชื่อสีที่ต้องการ">..........</FONT>
                    ใช้การกำหนดให้ตัวอักษรหรือข้อความมีสีอื่นต่างจากสีตัวอักษรทั่วไป หรือต้องการเน้นสีสันเพื่อเพิ่มจุดเด่น ทำให้แปลกแตกต่างไป การระบุค่าสี สามารถใช้ได้ทั้งระบุชื่อสี หรือค่าสีในระบบเลขฐาน 16 
                      ตัวอย่างการใช้คำสั่ง

<HTML>
<HEAD>
<TITLE>FONT COLOR </TITLE>
</HEAD>
<BODY >
<FONT COLOR="Red">Computer</FONT>
<FONT COLOR="Green">Computer</FONT>
<FONT COLOR="Black">Computer</FONT>
</BODY>
</HTML>
ผลลัพธ์
Computer Computer Computer

---------------------------------------------------------------

                11. คำสั่งสำหรับกำหนดสีพื้นหลังของเอกสาร  :  <BODY  BGCOLOR = รหัสสี> … </BODY>
                    การกำหนดสีพื้นหลังและการกำหนดสีของตัวอักษรนั้น จะทำการเขียนในส่วนของคำสั่ง <BODY> โดยเราจะใช้แอตทริบิวต์มาเป็นตัวกำหนด
การกำหนดสีของพื้นหลัง การกำหนดสีพื้นหลังนั้น เราสามารถมีรูปแบบการกำหนดสีพื้นหลังได้อยู่ รูปแบบ
            ·       ระบุชื่อของสีที่ต้องการ อาทิเช่น red, green, yellow, blue เป็นต้น
            ·       ระบุรหัสของสีที่ต้องการ อาทิเช่น #FFFF00 , #0000CC , #FF66FF เป็นต้น
                              ตัวอย่างการใช้คำสั่ง

<HTML>
<HEAD>
<TITLE>การกำหนดสีพื้นหลังโดยการกำหนดสี</TITLE>
</HEAD>
<BODY BGCOLOR="#00FF00">
การกำหนดสีพื้นหลังโดยการกำหนดสี
</BODY>
</HTML>

                                                  ผลลัพธ์

---------------------------------------------------------------

                12. คำสั่งสำหรับกำหนดสีให้กับตัวอักษรทั้งเอกสาร  :  <BODY  TEXT = รหัสสี> … </BODY>
<BODY TEXT="#RGB" หรือ กำหนดชื่อสีที่ต้องการ">...........</BODY>
                                        เราสามารถมีรูปแบบการกำหนดสีได้อยู่ รูปแบบ
                        ·       ระบุชื่อของสีที่ต้องการ อาทิเช่น red, green, yellow, blue เป็นต้น
  
                       ·       ระบุรหัสของสีที่ต้องการ อาทิเช่น #FFFF00 , #0000CC , #FF66FF เป็นต้น

<HTML>
<HEAD>
<TITLE> การกำหนดสีตัวอักษรทั้งหมด </TITLE>
</HEAD>
<BODY text ="blue" >
การกำหนดสีตัวอักษรทั้งหมดของเว็บเพจ
</BODY>
</HTML>
ผลลัพธ์
การกำหนดสีตัวอักษรทั้งหมดของเว็บเพจ


---------------------------------------------------------------

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น